Contrast
banner_default_3.jpg

การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานด้วยบอร์ดเกมแบบบูรณาการเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านการต้านทุจริต

จากไชต์: วารสารวิชาการ
จำนวนผู้เข้าชม: 390

28/06/2567

  การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานด้วยบอร์ดเกมแบบบูรณาการเพื่อปลูกจิตสำนึก
  ด้านการต้านทุจริต


  วิชิต อาษากิจ
  โรงเรียนนายร้อยตำรวจ


  นิทัศน์ บุญมี
  นักวิชาการอิสระ

 

 

  คำสำคัญ: การจัดการเรียนรู้  เกม  จิตสำนึก  ต้านทุจริต  โรงเรียนนายร้อยตำรวจ

 

  PDF ดาวน์โหลด

 

บทคัดย่อ
           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้บอร์ดเกมมาบูรณาการร่วมกับเนื้อหารายวิชาการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน และเพื่อประเมินผลผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจชั้นปีที่ 4 จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม โดยมีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกมาในขณะเล่นบอร์ดเกม และ 2) การทำแบบทดสอบเพื่อวิเคราะห์การเปรียบเทียบจิตสำนึกด้านการต้านทุจริตระหว่างผู้เรียน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง กับ กลุ่มเปรียบเทียบ ซึ่งผลการศึกษา พบว่า บอร์ดเกมช่วยทำให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเกิดจิตสำนึกด้านการต้านทุจริตมากขึ้น  และผลการเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างยังพบว่า ทั้ง 2 กลุ่ม มีจิตสำนึกด้านการต้านทุจริตที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผู้เขียนขอเสนอว่าควรนำบอร์ดเกมมาบูรณาการร่วมกับหลักสูตรการต้านทุจริตของทุกหน่วยงานและสถานศึกษาในประเทศไทย

เอกสารอ้างอิง (References)


ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน. (2559, 30 เมษายน). ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก. http://nattawatt.blogspot.com/2016/12/ consciousness.html


ภาควิชาการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม. (2561). มคอ.3 การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน. คณะตำรวจศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ.


รัชนีวรรณ ตั้งภักดี. (2565). การพัฒนารูปแบบการสร้างบอร์ดเกมเพื่อการศึกษาในประเทศไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 15(2), 117-132.


ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ, ฌาน เรืองธรรมสิงห์, จตุภูมิ เขตจัตุรัส และ วชิราวุธ ธรรมวิเศษ. (2565). การประเมินผลสัมฤทธิ์ในการใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา สำหรับการเรียนการสอนของการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาของประเทศไทย. Journal of Modern Learning Development, 7(3), 83-99.


สำนักงาน ป.ป.ช. (2561). คู่มือหลักเกณฑ์การบริหารชุดโครงการสหยุทธ์สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต โครงการ STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. สำนักป้องกันการทุจริตภาคประชาสังคมและการพัฒนาเครือข่าย.


สำนักต้านทุจริตศึกษา. (2565). แผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2565. สำนักงาน ป.ป.ช.


สุกาญดา เทนอิสสระ และนิรัช เรืองแสน. (2564). จิตพอเพียงเพื่อการต่อต้านทุจริต. Journal of Buddhist Education and Research, 7(1), 247-259.


Anderson, L. W., & Krathwohl, D. R. (2001). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: A revision of Bloom’s taxonomy of educational objectives. Addison Wesley Longman.


Justiana S., Priyono R., & Nugroho E. (2017). Using Board Games as Anti-Corruption and Integrity Learning Media. Journal of Game, Game Art, and Gamification, 2(2), 60-62.


Krathwohl, D. R. (2002). A Revision of Bloom’s Taxonomy: An Overview, Theory Into Practice, 41(4), 212-218, DOI: 10.1207/s15430421tip4104_2.


Krathwohl, D.R., Bloom, B.S., & Masia, B.B. (1964). Taxonomy of educational objectives: The classification of educational goals. Handbook II: The affective domain. David McKay.


The Organization for Economic Co-operation and Development: OECD. (2018). Greece-OECD Project: Technical Support on Anti-Corruption. https://www.oecd.org/governance/ethics/education-for-integrity-greece-en.pdf


Qian, M., & Clark, K. R. (2016). Game-based Learning and 21st century skills: A review of recent Research. Computers in Human Behavior, 63, 50-58, DOI: 10.1016/j.chb.2016.05.023.


Salen, K., & Zimmerman, E. (2004). Rules of play: Game design fundamentals. Cambridge, MIT Press.


Treher, E. N. (2011). Learning with Board Games, Tools for Learning and Retention. The Learning Key, Inc.


Trevarthen, C., & Delafield-Butt, J. (2017).  Development of consciousness. https://strathprints.strath.ac.uk/57845/1/Trevarthen_Delafield_Butt_2016_Development_of_human_consciousness.pdf

Related